Uncategorized
ประกันสังคม สำหรับ บริษัทเปิดใหม่ ลุูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ต้องทำอะไรบ้าง
วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นกองทุนให้หลักประกันแก่ผู้ประกันตน ให้ได้รับประโยชน์ทดแทนเมื่อต้องประสบอันตราย เจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือตาย ซึ่งไม่ใช้เนื่องจากการทำงาน รวมทั้งกรณีคลอดบุตร สงเคราะห์บุตร ชราภาพและว่างงาน การประสังคมคืออะไร การประกันสังคม คือ การสร้างหลักประกันในการดำรงชีวิตในกลุ่มของสมาชิกที่มีรายได้และจ่ายเงิน สมทบเข้ากองทุนประกันสังคม เพื่อรับผิดชอบในการเฉลี่ยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพและว่างงาน เพื่อให้ได้รับการรักษาพยาบาลและมีรายได้อย่างต่อเนื่อง งานประกันสังคมดำเนินการตามกฎหมายอะไร งานประกันสังคมดำเนินการตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศง 2533 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2533 แก้ไขเพิ่มเติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 และพระราชกฤษฎีกากำหนดระยะเวลาเริ่มดำเนินการจัดเก็บเงินสมทบเพื่อการให้ ประโยชน์ทดแทนในกรณีว่างงาน พ.ศ. 2546 ใครคือผู้ประกันตน […]
ตัวอย่างการบันทึกประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงานของพนักงานหลังออกจากงาน(จากสภาวิชาชีพบัญชี)
ตัวอย่างจากสภาวิชาชีพ ผลประโยชน์พนักงาน การคิดประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงานของพนักงานหลังออกจากงานสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ(NPAEs) มีแนวทางทางคำนวณจากสภาวิชาชีพ ซึงถ้าอ่านจากตัวอย่างของสภาวิชาชีพจะทราบว่า หลักการคำนวณของสภามาหลักการดังนี้ – ต้องคำนวณจากพนักงานปัจจุบันทุกคน โดยที่ไม่มีการกำหนดเป็นช่วงอายุเพื่อที่จะนำมาคำนวณ ไม่มีการเลือกปฏิบัติ – ใช้เงินเดือนปัจจุบันของพนักงานในการคำนวณ – พนักงานปัจจุบันทุกคนจะทำงานจนครบเกษียณ – พนักงานปัจจุบันทุกคนคาดว่าจะได้รับผลประโยชน์หลังออกจากงาน(พนักงานจะไม่เสียชีวิต) – มีการใช้ตัวเลข อัตราการหมุนเวียนของพนักงาน(turnover rate) มาใช้ในการคำนวณ
การแก้ไขรายการใบในกำกับภาษี และรายงานภาษีซื้อ มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2557
เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2556 ที่ผ่านมา อธิบดีกรมสรรพากรออกประกาศอธิบดี เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ฉบับที่ 194 ,195,196 ,197 แก้ไขหลักเกณฑ์การออกใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ และการจัดทำรายงานภาษีซื้อ มีผลใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 เป็นต้นไป (ขณะนี้เลื่อนใช้ไปปี 2558) ซึ่งบริษัทสามารถนำมาใช้ปฏิบัติก่อนวันที่มีผลบังคับใช้ได้ ดาวน์โหลดเอกสาร ภาษีมูลค่าเพิ่ม ฉบับที่ 194 เรื่องกำหนดข้อความอื่นในใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา86/9 (7) แห่งประมวลรัษฎากร ประเด็นสำคัญคือ ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบเพิ่มหนี้ต้องระบุ เลขประจำตัวผู้ภาษีอากรของผู้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ และสถานประกอบการ “สำนักงานใหญ่”/”สาขา” ของผู้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ ตามข้อความใน ภ.พ.20 ภาษีมูลค่าเพิ่ม ฉบับที่ 195 เรื่องกำหนดข้อความอื่นในใบลดหนี้ตามมาตรา86/10 (7) แห่งประมวลรัษฎากร ประเด็นสำคัญคือ ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบลดหนี้ต้องระบุ เลขประจำตัวผู้ภาษีอากรของผู้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ และสถานประกอบการ “สำนักงานใหญ่”/”สาขา” ของผู้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ ตามข้อความใน ภ.พ.20 ภาษีมูลค่าเพิ่ม ฉบับที่ 196 เรื่องกำหนดข้อความอื่นในใบกำกับตามมาตรา86/4 (8) แห่งประมวลรัษฎากร ประเด็นสำคัญคือ […]